วันอาทิตย์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2556

การเข้าเรียนครั้งที่ 9 (2 ม.ค 56)

หยุดเนื่องจากเทศกาลปีใหม่



1. Have a happy and prosperous New Year.  May the blessings of the Lord enrich your family and friends, not only in wealth but in health, love and happiness.

        - ขอให้ปีใหม่นี้จงมีแต่ความสุข สดใส ขอพระเจ้าจงมอบพรแก่ครอบครัว และมิตรสหายของคุณ มิใช่เพียงแค่มั่งคั่ง แต่ขอให้ร่ำรวยทั้งสุขภาพ ความรัก และความสุข

การเข้าเรียนครั้งที่ 8 (26 ธ.ค 56)

ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากเป็นการแข่งขันกีฬาบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม




การเข้าเรียนครั้งที่ 7  (19 ธ.ค 56)

**เป็นสัปดาห์สอบกลางภาค**


การเข้าเรียนครั้งที่ 6 

พัฒนาการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ เด็กที่มีความกพร่องทางพัฒนาการ

1. เด็กมีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติ
2.พัฒนาการล่าช้าอาจพบเพียงด้านใดด้านหนึ่ง หรือหลายด้าน หรือทุกด้าน
3.พัฒนาการล่าช้าด้านใดด้านหนึ่งอาจจะส่งผลให้ด้านอื่นล่าช้าไปด้วย

ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาเด็ก
1. ปัจจัยด้านชีวภาพ
2. ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด
3. ปัจจัยด้านกระบวนการคลอด
4. ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมหลังคลอด

สาเหตุที่ทำให้เกิดความพกพร่องทางพัฒนาการ
- โรคทางพนธุ์กรรม
- โรคของระบบประสาท
- การติดเชื้อ
- ความผิดปกติทางเมตาบอลิซึม
- สารเคมี
- การเลี้ยงดูไม่เหมาะสม
- แอกอฮอล์
- นิโคติน

วันอาทิตย์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2556

การเข้าเรียนครั้งที่ 5 

** ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากวันพ่อแห่งชาติ**

การเข้าเรียนครั้งที่ 4
  เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
-         เด็กที่มีการควบคุมอารมณ์ให้อยู่ในสภาพปกตินานๆไม่ได้
-         เด็กที่ควบคุมพฤติกรรมบางอย่างของตนเองไม่ได้
-         ทำให้ไม่สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเรียบร้อย
แบ่งได้ 2 ประเภท
-         เด็กที่ได้รับความกระทบกระเทือนทางอารมณ์
-         เด็กที่ปรับตัวเข้ากับสังคมไม่ได้
 การจะจัดว่าเด็กมีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์ต้องคำนึงถึงองค์ประกอบดังนี้
                      1.    สภาพแวดล้อม
                      2.    ความคิดเห็นแต่ละบุคคล
                    ผลกระทบที่เกิดต่อเด็ก
                                     รักษาความสัมพันธ์กับเพื่อนหรือครูไม่ได้
                                                             ไม่สามารถเรียนหนังสือได้เช่นปกติ
                                                             มีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
                                                             มีความคับข้องใจ และมีความเก็บกดอารมณ์
                                                              แสดงอาการทางร่างกาย
                                                              มีความหวาดกลัว
                  เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมซึ่งจัดว่ามีความรุนแรงมาก
         -         เด็กสมาธิสั้น
         -         เด็กออทิสติก
                 ลักษณะของเด็กที่มีความความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
         -         อุจาระ ปัสสาวะรดเสื้อผ้า
         -         ยังติดขวดนม
         -         ดูดนิ้ว กัดเล็บ
         -         หงอยเหงาเศร้าซึม
         -         เรียกร้องความสนใจ
         -         อารมณ์หวั่นไหวง่ายต่อสิ่งเร้า
         -         ฝันกลางวัน

          ออทิสติก    หมายถึง  เด็กที่มีพัฒนาการแตกต่างไปจากเด็กปกติ และ ส่งผลกระทบต่อการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ความสามารถในการสื่อสาร การใช้จินตนาการ อารมณ์ และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของเด็ก

ลักษณะที่เด่นชัดของเด็กออทิสติก
 ปัญหาด้านความสัมพันธ์
-        ไม่สบตากับผู้อื่น
-        ขาดความสนใจบุคคลรอบข้าง
-        ไม่เล่นกับเด็กคนอื่น ๆ
ปัญหามีพฤติกรรมแปลก ๆ
-        ทำท่าทางแปลก ๆ
-        หัวเราะไม่สมเหตุสมผล
-        ชอบหมุนวัตถุ
-        สนใจวัตถุ / สิ่งของซ้ำ ๆ
ปัญหาทางภาษา
-        การสื่อสารกับคนอื่นไม่เข้าใจ
-        พูดเรียนแบบเหมือนนกแก้ว
-        พูดเรื่องเดียวซ้ำ ๆ
ปัญหาด้านการรับรู้
-        ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลงในชีวิต  เช่นสถานที่
-        การรับรู้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ผิดปกติ เช่น ทากาว





การเข้าเรียนครั้งที่ 3 

 อาจารย์พูดต่อในสัปดาห์ที่แล้วเกี่ยว เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ



                               

การเข้าเรียนครั้งที่ 2


  - อาจารย์อธิบายความหมายเกี่ยวกับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
 (Child with Special Needs)

 - เด็กพิเศษประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
 
    1.กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง
  (กลุ่มเด็กที่มีระดับสติปัญญา (IQ) ตั้งแต่ 130 ขึ้นไป)

    2.กลุ่มเด็กที่มีลักษณะบกพร่อง  กระทรวงศึกษาธิการแบ่งออกเป็น  9  ประเภท ดังนี้
         2.1.) เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา  
         2.2.) เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน  
         2.3.) เด็กที่มีความบกพร่องทางการมองเห็น  
         2.4.) เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ  
         2.5) เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา  
         2.6.) เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์  
         2.7.) เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
         2.8.)เด็กออทิสติก(รวมถึงความบกพร่องของพัฒนาการแบบรอบด้านอื่นๆ - PDDs)
         2. 9.) เด็กพิการซ้ำซ้อน
การเรียนครั้งที่ 1

เป็นการเข้าเรียนครั้งแรกอาจารย์ได้บอกกฎระเบียบในการเรียน บอกถึงเรื่องที่จะสอน ได้แจกกระดาษสำหรับปลั๊มในการเข้าเรียนแต่ละครั้ง ได้ให้ทำ  Mindmapping  เกี่ยวกับเด็กพิเศษที่เรารู้จักว่าเป็นอย่างไร โดยไม่ต้องดูจากแหล่งข้อมูลแหล่งต่างๆ   แต่อาจารย์ต้องการให้เรานำความรู้ที่มีมาทำ เพื่ออาจารย์จะได้ดูพื้นความรู้ต่อวิชาที่เราเรียน ตกแต่ง Mindmapping ให้สวยงาม